วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553

[AI613-Weekly Journal] Week 7: M-commerce

Week 7: December 21, 2010


M-commerce


         มือถือเป็นเทคโนโลยีอื่นชิ้นหนึ่งที่อยู่ในชีวิตประจำวัน ด้วยขนาดที่เล็ก กะทัดรัด มือถือจึงติดตัวไปกับผู้คนตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ ปัจจุบัน มีการพัฒนา M-commerce คือการใช้บริการต่างๆผ่านทางมือถือ มากขึ้น 


เหตุผลที่พัฒนา M-Commerce


- Ubiquity มือถือเป็นที่แพร่หลาย ใช้กันอยู่ทั่วไป
- Convenience ใช้บริการผ่านมือถือสะดวกกว่า การไปที่ร้านจริง หรือหาคอมพิวเตอร์เพื่อใช้บริการ
- Instant Connectivity รวดเร็วในการเชื่อมต่อกับเครือข่ายต่างๆ เช่น อินเตอร์เน็ท อินทราเน็ท
- Personalization มือถือถูกออกแบบมาเพื่อสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ตามใจชอบ
- Localization of products and service มือถือสามารถใช้ได้ทุกที เพราะมี GPS

ลักษณะ Driver ของ Mobile computing และ M-commerce

- Widespread availability of mobile devices มือถือใช้กันทั่วไป
- No need for a PC ไม่ต้องหาคอมพิวเตอร์ หรือใช้ PC ในการเปิดมือถือ ซึ่งต้องต้องเวลา แต่มือถือเปิดได้ทันที
- Headset Culture แนวโน้มวัฒนธรรม ผู้คนเริ่มใช้มือถือมากขึ้น ใช้บริการผ่านมือถือมากยิ่งขึ้น
- Declining prices, increased functionalities แนวโน้มมือถือ ราคาจะลดลง แต่ความสามารถมือถือมีมากยิ่งขึ้น
- Improvement of bandwidth เครือข่ายการเชื่อต่อผ่านมือถือ เช่น 3G, 3.5G มีการพัฒนาต่อไปมากขึ้น
 

โครงสร้างพื้นฐานของ Mobile Computing 
     - WAP (Wireless Application Protocal) เป็นมาตรฐานของการเชื่อต่อระหว่างความสามารถโทรศัพท์มือถือและเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในมือถือ
     - โปรแกรมภาษาที่ใช้ในการพัฒนา เช่น WML,XHTML
     - มือถือ Software ที่ใช้ในมือถือ เช่น JAVA ME 

     - Browsers ในมือถือที่ใช้ เช่น Windows Mobile, Android

               -> "HTML5" การใช้มือถือตามปกติจะต้องมีโปรแกรม เช่น Flash ซึ่ง โปรแกรมเหล่านี้จะต้องมีการ Download หากไม่มีโปรแกรม และต้องคอยอัพเดทตลอดเวลา แต่ HTML5 เป็นการใช้การ Coding (ใช้การเขียนเป็นภาษา coding) แทน ซึ่งไม่จำเป้นต้องคอยอัพเดท หรือ ดาวน์โหลดอีกหลายๆครั้ง

Mobile Computing Basic Terminology

     -> WiMax  คือ Wireless ระดับใหญ่ โดยใช้เสาต้นใหญ่ส่งสัญญาณ Wireless เพื่อให้ครอบคลุมในพื้นที่บริเวณกว้าง
     -> RFID มีบางประเทศที่มีการใช้ RFID ผ่านทางมือถือ เพื่อสามารถ Tracking ข้อมูลได้ง่ายเงิน
     -> Operating System (OS) ระบบปฏิบัติการในมือถือ เช่น Android OS, iPhone OS, Blackberry OS
            
M-Commerce Business Model

     •Usage fee model
     •Shopping Business Models เช่น การขาย content ต่างๆใน iTune ทั้ง เพลง ภาพยนตร์ หนังสือ application
     •Marketing business Models
     •Improved Efficiency Models
     •Advertising Business Models (Flat fees/Traffic-based fees)
     •Revenue-Sharing Business Models
ตัวอย่างของ M-Commerce
     <> M-Banking

          การทำธุรกรรมผ่านทางมือถือ เช่น การตรวจสอบยอดเงินในบัญชี การโอนเงิน เป็นต้น

     <> iTune
          ถือเป็นการสร้าง E-cro System ของบริษัท Apple โดยเว็บนี้ จะเป็นแหล่งรวบรวม content เช่น เพลง ภาพยนตร์ หนังสือ Application เพื่อให้ผู้ที่ใช้เทคโนโลยีของ Apple สามารถเข้ามาซื้อ content ต่างๆได้อย่างสะดวกสบาย ไม่จำเป็นต้องไปร้านค้า สามารถค้นหาได้ง่าย ไม่มีความเสี่ยงเรื่องไวรัส รวมทั้ง ราคาสมเหตุสมผล ซึ่งถือเป็นจุดได้เปรียบของ Apple ที่ทำให้เจ้าอื่นๆไม่สามารถสู้ได้ เพราะลูกค้ารับรู้ว่า เมื่อซื้อสินค้าของ Apple แล้ว ก็สามารถใช้บริการอื่นๆในเว็บนี้ได้อย่างสะดวกสบายต่อไป

     <> Location-Based Service and Commerce เช่น
          -> Foursqare เป็นประกาศบอกเพื่อนๆและคนที่รู้จักให้รู้ว่าตนเองอยู่ที่ใด โดยการ checkd-in มีประโยชน์ต่อการตลาด เช่น ร้านกาแฟให้ส่วนลดพิเศษแก่ลูกค้าที่ทำการ checkd-in บ่อยที่สุด เป็นต้น
          -> GPS ระบบที่บอกตำแหน่งที่ตนเองอยู่ และบอกเส้นทางในการเดินทาง
          -> บางร้านค้า หรืองานจัดแสดง นำระบบนี้มาใช้ เช่น เมื่อลูกค้าเข้ามาในร้านหรือภายในงาน ก็มีการส่งข้อความต้อนรับเข้ามือถือลูกค้า

     <> Mobile Youtube
          ระบบที่ทำให้มือถือสามารถเปิด youtube ได้

ข้อจำกัดของ M-commerce


Insufficient bandwidth เครือข่ายไม่กว้างพอ เทคโนโลยียังไม่พร้อม
Security standards
Power Consumption
Transmission Interferences
GPS Accuracy
Potential Health Hazards
Human Interface with Device
Small Screens
Reduced memory
Limited Bandwidth
Restricted input capabilities
Cost – it’s readily available; why pay for it?
Trust  ความน่าเชื่อถือว่าเทคโนโลยีจะใช้ได้จริง


รชยา สุธีเชษฐ 5302110092

วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

[AI613-Weekly Journal] Week 6: E-Business and E-commerce

Week 6: December 14, 2010


         ปัจจุบันมีหลายธุรกิจที่เป็นลักษณะ E-business ซึ่งมีการนำระบบสารสนเทศ (IS) มาช่วยในการดำเนินธุรกิจ โดย E-business จะครอบคลุมเชื่อมโยงในทุกกระบวนการของธุรกิจ ตั้งแต่การซื้อขาย การการผลิต การติดต่อสื่อสารกับลูกค้า จนกระทั่งการแลกเปลี่ยนต่างๆกับ Supply Chain ตัวอย่างของ E-business ในปัจจุบัน เช่น


     - Dell :มีการใช้ Internet ใช้ในการรับคำสั่งซื้อจากลูกค้า ทาง dell.com รวมทั้งใช้ในการบริหารจัดการ  Supply Chain ซึ่งสามารถสร้างความได้เปรียบเชิงแข่งขันเป็นอย่างดี
     - Amazon : เวปไซต์ขายสินค้าผ่านทางอินเตอร์เน็ท
     - E-Bay :เวปไซต์ที่ประมูลซื้อ-ขายสินค้าผ่านทางอินเตอร์เน็ท




E-commerce Business Model


     - Affiliate Marketing คือการที่บริษัทนำลิงค์ไปวางที่เวปไซต์อื่นๆ เมื่อมีคนเข้ามาซื้อสินค้าโดยเข้ามาผ่านทางการกดจากลิงค์เว็บนั้นๆ เจ้าของเวปไซต์ก็จะได้ค่า commission ด้วย
     - Bartering online เว็บไซต์ที่เปิดให้มีการแลกเปลี่ยนกัน ทั้งข้อมูล ความคิดเห็น หรือสินค้าต่างๆ
เช่น craigslist.com
     - Online Advertiser คือการโฆษณาผ่านทางเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Facebook
     - Application Programming Interface (API) การที่บริษัทแห่งหนึ่งผลิตโปรแกรมออกมา แล้วเปิดโอกาสให้อีกบริษัทสามารถพัฒนา software หรือโปรแกรมต่างๆมาใช้งานรวมกันได้ เช่น  YouTube, Google-map,i-phone
     - Social Commerce คือการโฆษณาผ่านทางผู้ที่เคยใช้สินค้าและใกล้ชิดกับลูกค้า เช่น ผู้เชี่ยวชาญ  เพื่อน ครอบครัว โดยใช้ประโยชน์จากการที่โดยทั่วไปคนมักจะซื้อสินค้าจากการแนะนำผู้ที่รู้จัก




ข้อดีและข้อจำกัดของ E-commerce


ข้อดี


     <ต่อองค์กร>
          - ช่วยในการประหยัดต้นทุน
          - ลดระยะเวลาในการดำเนินงาน
          - ขยายช่องทางจัดจำหน่าย,ฐานลูกค้า
          - สร้างความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูล และนำข้อมูลมาใช้ในกา่รตัดสินใจ


     <ต่อสังคม>
          - ลดการใช้น้ำมันจากการเดินทาง เพราะไม่จำเป็นต้องเดินทางไปที่ร้านโดยตรง
          - ช่วยประหยัดเวลา สามารถทำอย่างอื่นแทน


     <ต่อลูกค้า>
          - สร้างความสะดวกให้กับลูกค้าในการซื้อขาย หรือติดต่อกับผู้ขาย
          - สามารถเลือกสินค้าได้ตามใจ ได้รับบริการที่รวดเร็ว


ข้อจำกัด


     <เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี>
          - โปรแกรมที่ทางบริษัทใช้ อาจมีลูกค้าบางคนใช้ด้วยไม่ได้
          - เทคโนโลยีมีการพัฒนาตลอดเวลา และอย่างรวดเร็ว


     <ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี>
          - ความปลอดภัยของข้อมูล อาจเกิดการแฮคก์ข้อมูลส่วนตัวทำให้เกิคความเสียหายต่อผู้ใช้
          - ข้อกำหนดบังคับ หรือ ข้อกฎหมาย
          - ลูกค้าไม่มั่นใจในคุณภาพสินค้า หรืออาจเกิดการโกงได้




Is Major EC Mechanisms?


     - Electronic Catalog การทำแคตตาล็อกออนไลน์
     - E-Auction การเปิดประมูลผ่านอินเตอร์เน็ท
     - Bartering & Negotiations เวปไซต์ที่เปิดให้มีการแลกเปลี่ยนสินค้า
     - Electronic Storefronts การขายของทั้งผ่านทางเว็บไซต์ และมีร้านค้าจริง ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าผ่านทางเว็บไวต์แล้วค่อยไปรับสินค้าที่ร้านได้
     - Electronic Mall ห้างเสมือนจริงในอินเตอร์เน็ท เป็นลักษณะ Virture สร้างตัวละครบนเว็บไซต์ โดยที่ตัวละครนี้สามารถเดินทางภายในเว็บไซต์ที่เสมือนสร้างห้างจริงๆในเว็บไซต์
     - Online Job Market ตลาดงานที่สามรถรับสมัครงานหรือหางานบนอินเตอร์
     - Travel Service สั่งจองหรือสั่งซื้อสินค้าและบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยวบนอินเตอร์เน็ท เช่น ตั๋วร์เที่ยว ห้องพัก ตั๋วรถ
     - Real Estate Online การหาข้อมูล หรือซื้อ-ขายอสังหาริมทรัพย์ เช่น ตึก บ้าน บนอินเตอร์เน็ท
     - E-Government การทำรายการที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานรัฐบาลผ่านทางอินเตอร์เน็ท เช่นประมูลงาน, จ่ายภาษี, ประมูลทะเบียนรถ






น.ส. รชยา สุธีเชษฐ 5302110092


วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

[AI613-Weekly Journal] Week 5: Information Technology Economic

Week 5: December 7, 2010

         กฎ Moore's Law ได้แสดงถึงแนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต ซึ่งเขาได้คาดการณ์ไว้ว่า ความสามารถของชิพในคอมพิวเตอร์จะพัฒนาขึ้นทุกๆ 18-24 เดือนในต้นทุนคงที่ Price-to Performance ในอนาคตจะลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหมายความว่า ราคาของเทคโนโลยีจะลดลงในขณะที่ความสามารถในการทำงานจะยิ่งสูงขึ้น

Productivity Paradox

         การนำเทคโนโลยีมาใช้ในองค์กรอาจทำให้เกิด Productivity Paradox คือการที่การการนำเทคโนโลยีมาใช้ในบริษัท แต่ประสิทธิภาพของผลงานที่ได้ (Productivity) กลับเติบโตช้า ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก

     - Productivity เฟรื เกิดผลช้า ต้องใช้ระยะเวลาในการวัดผลงาน
     - การลงทุนใน IT อาจเกิดจากดึงเอางบประมาณของฝ่ายอื่นมา เลยทำให้เกิดการขาดทุนในภาพรวม
     - ต้นทุนในการนำ IT มาใช้สูง
     - ประโยชน์ที่ได้จากการนำ IT มาใช้ อาจใช้เวลานาน
     - การนำ IT มาใช้จริง อาจได้ผลออกมาต่างจากที่คาดการณ์ไว้ ด้วยสาเหตุปัจจัยอื่นๆ เชื่อ ข้อกำหนดต่างๆ หรือเหตุผลอื่นๆ

         ผลกระทบที่เกิดจากการลงทันด้าน IT มีทั้งผลกระทบโดยตรง (direct impact) เช่น การลดต้นทุน และผลกระทบทางอ้อม (second-order impact) เช่น ความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ซึ่งหมายความว่า การลงทุนใน IT อาจจะไม่ใช่ว่าจะช่วยเพิ่มประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เช่น รายได้ กำไร เพียงอย่างเดียว แต่อาจจะส่งผลในเรื่องของประสิทธิภาพในด้านการดำเนินงานขององค์กรแทนเช่น การผลิตที่รวดเร็วขึ้น การทำตลาดได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น เป็นต้น

Evaluating IT Investments

         ก่อนที่องค์กรจะลงทุนใน IT ต้องดูเหตุผลก่อนว่า มีความจำเป็นหรือไม่ ผลที่ได้จากการลงทุนคุ้มค่าหรือไม่ มีงบประมาณเท่าใดในการลงทุน IT ซึ่งเมื่อลงทุนใน IT แล้ว ควรมีการประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ

ขั้นตอนการตัดสินใจลงทุน IT

     - Lay an appropriate foundation for analysis, and then conduct your ROI.
     - Conduct a good research on metrics & validate them.
     - Justify, clarify, and document the costs and benefits assumptions.
     - Document and verify all figures used in the calculation and include risk analysis.
     - Is the project really bolstering the company's competitive and strategic advantage?
     - Not to underestimate costs and overestimate benefits
     - Commit all partners, including vendors and top management.

ความยากในการประเมินผล

     - ไม่รู้ว่าจะวัดอะไรดี
     - ระยะเวลาในการวัดผล อาจต้องใช้ระยะเวลานาน
     - ยากที่จะหาความสัมพันธ์ระหว่างการลงทุนใน IT และผลลัพธ์ที่ได้ในมุมของภาพรวมองค์กร
     - วัดออกมาเปิดตัวเิงินยาก
     - ไม่สามารถวัดออกมาเป็นผลเชิงคุณภาพ

แนวทางในการวัดผลประโยชน์ที่ไม่เป็นตัวเงิน (Intangible Benefits)

     - ประมาณการผลประโยชน์ที่ได้ให้เป็นตัวเงินอย่างคร่าวๆ
     - ดูว่าเกี่ยวกับกลยุทธ์อย่างไร มีประโยชน์ทางการเงินอย่างไร
     - มองเฉพาะผลประโยชน์ที่ได้ในระยะสั้นก่อนแลัวค่อยมองผลประโยชน์ระยะยาวต่อไป
     - คอยดูผลประโยชน์ที่ได้รับจากการลงทุนใน IT และโอกาสที่จะพัฒนา IT ต่อไป

ต้นทุนที่เกิดจากการลงทุน IT

     - Fixed cost ประกอบไปด้วย
           > Infrastructure cost ต้นทุนโครงสร้างพื้นฐานของ IT
           > Service Cost ต้นทุนจากการรับบริการ
     - Transaction Cost
           > Search ต้นทุนในการหาผู้ที่สามารถนำเสนอสินค้าและบริการที่เฉพาะได้
           > Information ต้นทุนที่เกี่ยวกับการตรวจสอบข้อบังคับ เงื่อนไขเรื่องการเงิน และลักษณะความต้องการขององค์กร
           > Negotiation ต้นทุนเกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง
           > Decision ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผู้ซื้อ และกระบวนการภายในของผู้ซื้อ เช่น การอนุมัติการขาย
           > Monitoring ต้นทุนที่เกี่ยวกับการควบคุมการส่งสินค้าและบริการที่ได้รับ

รายได้ที่ได้จาก IT&Web

     - Sales รายได้ที่เกิดจากการขายสินค้าหรือให้บริการทางออนไลน์
     - Transaction fees รายได้จากการให้บริการรายครั้งการให้บริการ
     - Subscription fees รายได้การการให้ลูกค้าบริการเป็นรายเดือน เช่น ให้บริการหน้าเว็บขายของ
     - Advertising fees รายได้จากการโฆษณา
     - Affiliate fees

วิธีการตัดสินใจการลงทุนใน IT

              หลักการสำคัญในการตัดสินใจลงทุนใน IT คือ Cost-Benefit Analysis คือ การเปรียบเทียบระหว่าง ต้นทุนที่เกิดขึ้น (Cost) และ ประโยชน์ที่ได้ (Benefit) ว่าคุ้มค่าหรือไม่ โดย Cost ประกอบไปด้วย ต้นทุนการพัฒนา, ต้นทุนการติดตั้ง IT, และต้นทุนการทำให้ IT ทำงานได้ และ Benefit ประกอบไปด้วย Direct benefits, Assessable indirect benefits, Intangible benefits เทคนิคท่นำมาช่วยในการตัดสินใจมีดังนี้

      <> Projects & Cash Flow Project เป็นการประมาณการกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้ในอนาคต โดยใช้เครื่องมือกับการเงิน อย่าง NPV, Payback period, ROI, Net Profit, IRR

      <> TCO คือ การพิจารณาต้นทุนและผลประโยชน์ที่จะได้ หรือ Total cost and benefit of ownership

      <> Balanced scored method เป็นการพิจารณาผลกระทบทั้ง 4 ด้ายคือ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และการเติบโตขององค์กร


Where costs of IT investment go?

     - Overhead: ค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ที่จะถูกปันไปในแผนกต่างๆ
     - Charge back: เพิ่มราคาการให้บริการแก่ลูกค้าเพื่อนำรายได้มาชดเชยแทน
 
Major Managerial Issues

     - เทคโนโลยีมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา
     - ผลประโยชน์อาจเปลี่ยนจากสามารถจับต้องได้ กลายเป็นจับต้องไม่ได้
     - ไม่มีอะไรแน่นอน ต้องมีการวัดผลอยู่เสมอ
     - การกำหนดค่าใช้จ่ายที่จะนำไปคิดกับลูกค้า
     - โอกาสความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
     - วิธีการวัดมูลค่าการลงทุนใน IT
     - ผู้ที่ทำการตัดสินใจในการลงทุน IT



นส. รชยา สุธีเชษฐ 5302110092

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

[AI613-Weekly Journal] Week 4: -Outsourcing- & -Acquiring and Developing Business Applications and Infrastructure-

Week 4: November 30, 2010

Outsourcing IT

ข้อดี
     - เพื่อให้บริษัทสามารถเน้นทำงานหลักได้มากขึ้น
     - ช่วยลดต้นทุนได้มากกว่าการทำ้เอง
     - มีคุณภาพมากกกว่าทำเอง เพราะบริษัทมีความเชี่ยวชาญน้อยกว่า
     - เพื่อความเร็วในการเข้าสู่ตลาด
     - บริษัทอื่นมีนวัตกรรมที่ใหม่กว่า

ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการ Outsourcing
     - ค่าวิเคราะห์, เปรียบเทียบ
     - ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร
     - การส่งผ่านความรู้
     - การจัดการเรื่องทักษะของบุคลากร
     - ค่าใช้จ่ายในการส่งกลับ ในกรณีที่เกิดปัญหา

การวางกลยุทธ์จัดการความเสี่ยงในการ Outsourcing
     - เข้าใจในโครงการอย่างชัดแจ้ง เพื่อให้ทราบว่าสิ่งที่ต้องการจริงๆคืออะไร
     - ถ้าเป็นโครงการที่มีขนาดใหญ่ สามารถแบ่งทำเป็นทีละส่วนไป
     - สร้างแรงจูงใจ หรือให้รางวัลกับผู้ที่ทำงาน
     - เขียนสัญญาระยะสั้น เพื่อเป็นการบังคับให้เกิดการทำจริง
     - หากบริษัทที่รับ Outsourcing ไปจ้่าง Outsourcing อีกทีนั้น ก็มีการร่วมเข้าไปควบคุมอีกที
     - เลือก Outsourcing ใน่วนที่ไม่ใช่แก่นของธุรกิจ

ความเสี่ยงที่เกิดจากการ Outsourcing
     - การ Outsourcing ไม่ได้สามารถช่วยในการลดต้นทุนจริง
     - ข้อมูลสามารถรั่วไหลออกไปได้
     - กระบวนการในส่วนที่นำไป Outsourcing บริษัทไม่สามารถพัฒนาให้ดีขึ้นได้อีก
     - ผู้รับ Outsourcing เข้ามารับรู้กระบวนการทำงานใบริษัท
     - ผู้รับ Outsourcing ทำงานผิดพลาด
     - เกิดความต้องการมากกว่าที่เคยได้ตกลงกันไว้

งานที่ไม่ควร Outsourcing
     - งานที่ไม่ได้เกิดประจำวัน
     - งานที่อาจทำให้สุญเสียการควบคุมในกรดำเนินงานมากเกินไป
     - งานที่มีความเสี่ยงสูงที่ข้อมูลจะัไหลออกจากบริษัท
     - งานที่มีต้องใช้ความรู้เชื่ยวชาญ และความรู้ด้าน IT

ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินเลือกระหว่าง Outsourcing IT VS Insourcing IT
     1. ขนาดของบริษัท หากบริษัทมีขนาดใหญ่พอที่จะหาพนักงานที่มีทักษะก็ไม่ควรจะทำการ Outsourcing
     2. ต้นทุนที่เกิดระหว่าง Outsourcing VS Insourcing
     3. ระดับความสนใจของผู้บริหารระดับสูง หากมีความสนใจใน IT สามารถดูเลงเองได้ ก็ไม่จำเป็นที่จะต้อง Outsourcing
     4. สภาพทางการเงินของบริษัท

Acquiring and Developing Business Applications and Infrastructure

ขั้นตอนการจัดหา IT Application

Step 1: Planing, identifying, and justifying IT Based systems
           วางแผนระบบพื้นฐาน IT ภายในระบบให้ชัดเจน เป็นขั้นตอนที่ต้องทำด้วยเองเท่านั้น

Step 2: Creating an IT architecture 
           สร้างโครงสร้างพื้นฐานภายในบริษัทในการนำนำระบบ IT มาใช้จริง
          
Step 3: Selecting an acquisition option
           เลือกวิธีการจัดหา เช่น การซื้อ การเช่า เป็นต้น

Step 4: Testing, installing, integrating and deploying IT applications
           ติดตั้ง และทดลองใช้ระบบ

Step 5: Operations, maintenance and updating
            นำระบบใช้จริง ดูแลรักษา และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ



น.ส. รชยา สุธีเชษฐ 5302110092